วันอังคารที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 11 วันพุธ ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 11 เวลาเรียน 08.30-12.30 น.
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิน
วันพุธ ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2559

เนื้อหาการเรียน(ความรู้ที่ได้รับ) :









































การวัดความสามารถทางภาษา
                - เข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพุดไหม
                - ตอบสนองเมื่อมีคนอื่นพูดด้วยไหม
                - ถามหาสิ่งต่างๆไหม
                - บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นไหม
                -  ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นไหม
การออกเสียงผิดพูดไม่ชัด
                - การพูดตกหล่อน
                - การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง
                - ติดอ่าง
การปฏิบัติของครูและผู้ใหญ่
                - ไม่สนการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัด
               - ห้ามบอกเด็กว่า"พูดช้าๆ"  "ตามสบาย"  "คิดก่อนพูด"
               - อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด
               - อย่าเปลี่ยนการใช้มือข้างที่ถนัดของเด็ก
ทักษะพื้นฐานทางภาษา
               - ทักษะการรับรู้ภาษา
               - การแสดงออกทางภาษา

               - การสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด






ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย
                - การรับรู้ภาษามาก่อนการแสดงออกทางภาษา
               - ภาษาไม่ใช่คำพูดมาก่อนภาษาพูด
               - ให้เวลาเด็กได้พูด
               -  คอยให้เด็กตอบ (ชี้แนะหากจำเป็น) 
               -  เป็นผู้ฟังที่ดีและโต้ตอบอย่างฉับไว (ครูไม่พูดมากเกินไป)
               - เด็กไม่ได้เรียนรู้ภาษาจากการฟังอย่างเดียว
               - ให้เด็กทำกิจกรรมกลุ่ม เด็กพิเศษได้มีแบบอย่างจากเพื่อน
               - กระตุ้นให้เด็กบอกความต้องการของตนเอง (ครูไม่คาดการณ์ล่วงหน้า)
               - เน้นวิธีการสื่อความหมายมากกว่าการพูด
               - ใช้คำถามปลายเปิด
               - เด็กพิเศษรับรู้มากเท่าไหร่ ยิ่งพูดได้มากเท่านั้น

               - ร่วมกิจกรรมกับเด็ก





"เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากที่สุด  การกินอยู๋ การเขาห้องน้ำ การแต่งตัว กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน"
การสร้างความอิสระ
              - เด็กอยากช่วยเหลือตนเอง
              - อยากทำงานตามความสามารถ
              - เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่าและผู้ใหญ่
ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ
              - การได้ทำด้วยตนเอง
              - เชื่อมั่นในตนเอง
              - เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี
หัดให้เด็กทำเอง
              - ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น (ใจแข็ง)
              - ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป
              - ทำให้แม้กระทั่งสิ่งที่เด็กสามารถทำได้เองหากให้เวลาเขาทำ
              - "หนูทำช้า"  "หนูยังทำไม่ได้"
จะช่วยเมื่อไหร่
              - เด็กก็มีบางวันที่ไม่อยากทำอะไร,หงุดหงิด,เบื่อ,ไม่ค่อยสบาย
              - หลายครั้งเด็กจะขอความช่วยเหลือในสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
              - เด็กรู้สึกว่ายังมีผู้ใหญ่ที่พึ่งได้ แต่ต้องได้รับความช่วยเหลือเฉพาะสิ่งที่เด็กต้องการ
              - มักช่วยเด็กในช่วงกิจกรรม










ลำดับขั้นในการช่วยเหลือ
              - แบ่งทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ
              - เรียงลำดับตามขั้นตอน


การวางแผนทีละขั้น

              - แยกกิจกรรมเป็นขันย่อยๆให้มากที่สุด







เป้าหมาย
          - การช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้
          - มีความรู้สึกดีต่อตนเอง
          - เด็กรู้สึกว่า"ฉันทำได้"
          - พัฒนาความกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น
          - อยากสำรวจ อยากทดลอง
ช่วงความสนใจ
          - ต้องมีการเรียนรู้อื่นๆ
          - จดจ่อต่อกิจกรรมในช่วงเวลาหนึ่งได้นานพอสมควร
การเลียนแบบ
การทำตามคำสั่ง คำแนะนำ
          - เด็กได้ยินสิ่งที่ครูพูดชัดหรือไม่
          - เด็กเข้าใจคำศัพท์ที่ครูใช้หรือไม่
          - คำสั่งยุ่งยากซับซ้อนไปหรือไม่
การรับรู้ การเคลื่อนไหว
          - ได้ยิน เห็น สัมผัส ลิ้มรส กลิ่น
          - ตอบสนองอย่างเหมาะสม
การควบคุมกล้ามเนื้อเล็ก
          - การกรอกน้ำ ตวงน้ำ
          - ต่อบล็อก
          - ศิลปะ
          - มุมบ้าน
          - ช่วยเหลือตนเอง
          - จากการสนทนา
          - เมื่อเช้าหนูทานอะไร
          - แกงจืดที่เรากินใส่อะไรบ้าง
          - จำตัวละครในนิทาน
          - จำชื่อครู เพื่อน
          - เล่นเกมทายของที่หายไป
ทักษะทางคณฺิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
         - การจำแนก
         - การเรียงลำดับ
         - การนับ
         - การสังเกต
         - ทักษะการเปรียบเทียบ
         - การวัด

         - รูปทรงและขนาด









ทักษะที่ได้:

  • การตอบคำถาม
  • การวิเคราะห์
การประยุกต์ใช้ : เพื่อเป็นความรู้ในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและปรับพฏติกรรมเด็กได้

การประเมินผล
  • ตนเอง ตั้งใจเรียน แต่งกายถูกระเบียบ ร่วมตอบคำถามกับเพื่อนๆ
  • เพื่อน :  ตั้งใจตอบคำถาม ไม่วุ่นวาย 
  • อาจารย์  สอนเนื้อหาได้ดีพร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น