วันจันทร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 4 วันพุธ ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 4 เวลาเรียน 08.30-12.30 น.
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิน
วันพุธ ที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

เนื้อหาการเรียน(ความรู้ที่ได้รับ) :

เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูด
         หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องซึ่งเกิดจากการพูดผิดปกติ ในด้านความชัดเจนในการปรับปรุงแต่งระดับและคุณภาพของเสียง จังหวะและขั้นตอนของเสียงพูด





1. การพัฒนาการทางภาษาช้ากว่าวัย (Delayed Language) 
มีความยากลำบากในการใช้ภาษา
มีความผิดปกติของไวยากรณ์และโครงสร้างของประโยค
ไม่สามารถสร้างประโยคได้
มีความบกพร่องทางเชาว์ปัญญา อารมณ์ สมองผิดปกติ
ภาษาที่ใช้เป็นภาษาห้วน ๆ
2ความผิดปกติทางการพูดและภาษาอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพที่สมอง โดยทั่วไปเรียกว่า
Dysphasia หรือ aphasia 
อ่านไม่ออก (alexia)
เขียนไม่ได้ (agraphia)
สะกดคำไม่ได้
ใช้ภาษาสับสนยุ่งเหยิง
จำคำหรือประโยคไม่ได้
ไม่เข้าใจคำสั่ง
พูดตามหรือบอกชื่อสิ่งของไม่ได้
Gerstmann’s syndrome
ไม่รู้ชื่อนิ้ว (finger agnosia)
ไม่รู้ซ้ายขวา (allochiria)
คำนวณไม่ได้ (acalculia)
เขียนไม่ได้ (agraphia)
อ่านไม่ออก (alexia) 
ลักษณะของเด็กบกพร่องทางการพูดและภาษา 
ในวัยทารกมักเงียบผิดธรรมชาติ ร้องไห้เบา ๆ และอ่อนแรง
ไม่อ้อแอ้ภายในอายุ 10 เดือน
ไม่พูดภายในอายุ 2 ขวบ
หลัง 3 ขวบแล้วภาษาพูดของเด็กก็ยังฟังเข้าใจยาก
ออกเสียงตัวสะกดไม่ได้
หลัง 5 ขวบ เด็กยังคงใช้ภาษาที่เป็นประโยคไม่สมบูรณ์ในระดับประถมศึกษา
มีปัญหาในการสื่อความหมาย พูดตะกุกตะกัก
ใช้ท่าทางในการสื่อความหมาย 




























ทักษะที่ได้:

  • การตอบคำถาม
  • การวิเคราะห์
การประยุกต์ใช้ : เข้าใจถึงประเภทของเด็กพิเศษและเพื่อเป็นความรู้ในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและปรับพฏติกรรมเด็กได้

กาาประเมินผล
  • ตนเอง  แต่งกายถูกระเบียบ  มาสาย 
  • เพื่อน :  ตั้งใจตอบคำถาม  สายบ้างเล็กน้อย
  • อาจารย์ : สอนเนื้อหาได้ต่อเนื่องจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ใช้เทคโนโลยีเหมาะสม นำเสนอวิดีทัศน์ได้สัมพันธ์กับเรื่องที่เรียน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น