วันอังคารที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 5 วันพุธ ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกอนุทิน
ครั้งที่ 5 เวลาเรียน 08.30-12.30 น.
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ   แจ่มถิน
วันพุธ ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

เนื้อหาการเรียน(ความรู้ที่ได้รับ) :





 ตัวอย่าง
จาน          --->          จาง/บา
ง่วง          --->          ม่วม/ม่ง/ง่ง
เลย          --->           เล
โบราณ      --->          โบรา
หนังสือ      --->         สือ
อรัญ          --->         อะรัย
















ดูหน้าแม่                                   --->     ไม่มองตา
หันไปตามเสียง                          --->     เหมือนหหูหนวก
เรียนรู้คำพูดเพิ่มเติม                   --->     เคยพูดได้ต่อมาหยุดพูด 
ร้องเมื่อมีคนแปลกหน้าเข้าใกล้    --->    ไม่สนใจคนรอบข้าง
จำหน้าแม่ได้                              --->     บางคนก็จำคนไม่ได้
เปลี่ยนของเล่น                           --->     นั่งเล่นอย่างใดอย่างหนึ่ง
เคลื่อนไหวอย่างมีจุดมุ่งหมาย     --->     มีพฤติกรรมแปลกๆ
สำรวจและเล่นตุ๊กตา                   --->     ดมหรือเลียตุ๊กตา
ชอบความสุขและกลัวความเจ็บ    --->   ไม่รู้สึกเจ็บปวด ชอบทำร้ายตัวเอง และคนรอบข้าง



ความผิดปกติของปฏิสัมพันธ์ทางสังคมอย่างน้อย 2 ข้อ
ไม่สามารถใช้ภาษาท่าทางสื่อสารทางสังคมกับบุคคลอื่น
ไม่สามารถสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลให้เหมาะสมตามวัย
ขาดความสามารถในการแสวงหาการมีกิจกรรม ความสนใจ และความสนุก สนานร่วมกับผู้อื่น
ขาดทักษะการสื่อสารทางสังคมและทางอารมณ์กับบุคคลอื่น

ความผิดปกติด้านการสื่อสารอย่างน้อย 1 ข้อ
มีความล่าช้าหรือไม่มีการพัฒนาในด้านภาษาพูด
ในรายที่สามารถพูดได้แล้วแต่ไม่สามารถที่จะเริ่มต้นบทสนทนาหรือโต้ตอบบทสนทนากับผู้อื่นได้อย่าง
เหมาะสม
พูดซ้ำๆ หรือมีรูปแบบจำกัดในการใช้ภาษา เพื่อสื่อสารหรือส่งเสียงไม่เป็นภาษาอย่างไม่เหมาะสม
ไม่สามารถเล่นสมมุติหรือเล่นลอกตามจินตนาการได้เหมาะสมกับระดับพัฒนาการ

มีพฤติกรรม ความสนใจ และกิจกรรมที่ซ้ำๆ และจำกัดอย่างน้อย 1 ข้อ
–มีความสนใจที่ซ้ำๆ อย่างผิดปกติ
–มีกิจวัตรประจำวันหรือกฎเกณฑ์ที่ต้องทำโดยไม่สามารถยืดหยุ่นได้ ถึงแม้ว่ากิจวัตรหรือกฎเกณฑ์นั้นจะไม่มีประโยชน์
–มีการเคลื่อนไหวร่างกายซ้ำๆ
–สนใจเพียงบางส่วนของวัตถุ





ทักษะที่ได้:

  • การตอบคำถาม
  • การวิเคราะห์
การประยุกต์ใช้ : เข้าใจถึงประเภทของเด็กพิเศษและเพื่อเป็นความรู้ในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและปรับพฏติกรรมเด็กได้

กาาประเมินผล
  • ตนเอง  แต่งกายถูกระเบียบ  ตั้งใจเรียน ไม่เสียงดัง 
  • เพื่อน :  ตั้งใจตอบคำถาม  ไม่เสียงดัง
  • อาจารย์  อาจารย์ได้ใช้เทคโนโลยีในการสอนได้เหมาะสม เนื้อหาเข้าใจง่ายกระชับ